หลักสูตรการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning เนื้อหาหลักสูตรเกี่ยวกับหลักการและแนวคิดพื้นฐาน หลักการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ตลอดจนการใช้เครื่องมือที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning และสามารถวัดและประเมินผลได้ ซึ่งจะสามารถส่งเสริมให้ผู้เรียนมีการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
เนื้อหาหลักสูตรประกอบด้วย 6 หน่วยการเรียน สื่อการเรียนประกอบด้วยคลิปวิดีโอและเอกสารประกอบการบรรยาย ผู้เรียนศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองและประเมินผลแบบทดสอบท้ายหน่วยแต่ละหน่วย เกณฑ์ผ่านร้อยละ 70
-
หน่วยที่ 1: หลักการและแนวคิดพื้นฐาน
ความหมายและหลักการของการเรียนการสอนแบบ Active Learning : EP1.1 แนะนำรายวิชา และแนะนำหน่วยการเรียนรู้ในหน่วยพัฒนาที่ 1
EP1.2 รูปแบบการจัดการเรียนการสอนในประเทศไทยและปัญหาที่เกิดขึ้น (1/2)
EP1.2 รูปแบบการจัดการเรียนการสอนในประเทศไทยและปัญหาที่เกิดขึ้น (2/2)
EP1.3 ความหมายของการเรียนแบบ Active learning
EP1.4 หลักการของการเรียนแบบ Active learning
ความสำคัญและที่มาของการจัดการเรียนการสอนแบบ Active learning : EP2.1 การจัดการเรียนการสอนแบบ Active learning
EP2.2 ความสำคัญของการจัดการเรียนรู้แบบ Active learning
EP2.3 การเปรียบเทียบการจัดการเรียนการสอนแบบ Passive และ Active learning
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง : EP3.1 แนวคิดทฤษฎีต่าง ๆ สำหรับการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning
EP3.2 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism Theory) (1/4)
EP3.2 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism Theory) (2/4)
EP3.2 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism Theory) (3/4)
EP3.2 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism Theory) (4/4)
EP3.3 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม (Cognitivism Theory) (1/4)
EP3.3 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม (Cognitivism Theory) (2/4)
EP3.3 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม (Cognitivism Theory) (3/4)
EP3.3 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม (Cognitivism Theory) (4/4)
EP3.4 ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism Theory) (1/2)
EP3.4 ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism Theory) (2/2)
EP3.5 สรุปเนื้อหาในหน่วยการพัฒนาที่ 1
เอกสารประกอบการอบรม หน่วยการพัฒนาที่ 1 หลักการและแนวคิดพื้นฐาน
แบบทดสอบ Post-Test
จำนวน 15 ข้อ
-
หน่วยที่ 2: หลักการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning
ลักษณะของการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning : EP1.1 แนะนำหน่วยการเรียนรู้ในหน่วยการพัฒนาที่ 2
EP1.2 การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ในระดับชั้นต่าง ๆ
EP1.3 ลักษณะของการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning (1/2)
EP1.3 ลักษณะของการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning (2/2)
รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning : EP2.1 รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning
EP2.2 การเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด (Think-pair-share) (1/3)
EP2.2 การเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด (Think-pair-share) (2/3)
EP2.2 การเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด (Think-pair-share) (3/3)
EP2.3 การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning) (1/2)
EP2.3 การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning) (2/2)
EP2.4 การเรียนรู้แบบเดิมชมผลงาน (Gallery Walk)
EP2.5 การเรียนรู้แบบท้าทายเป็นฐาน (Challenge-Based Learning) (1/2)
EP2.5 การเรียนรู้แบบท้าทายเป็นฐาน (Challenge-Based Learning) (2/2)
บทบาทของครูและผู้เรียน : EP3.1 บทบาทของครูในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning (1/2)
EP3.1 บทบาทของครูในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning (2/2)
EP3.2 บทบาทของผู้เรียนในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning
การเรียนรู้แบบไม่มีครู : EP4.1 รูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยไม่มีครู
EP4.2 ตัวอย่างการจัดการเรียนการสอนโดยไม่มีครู
EP4.3 สรุปเนื้อหาในหน่วยการพัฒนาที่ 2
เอกสารประกอบการอบรม หน่วยการพัฒนาที่ 2 หลักการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning
แบบทดสอบ Post-Test
จำนวน 10 ข้อ
-
หน่วยที่ 3: สมรรถนะของผู้เรียนในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning : EP1.1 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning (1/3)
EP1.1 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning (2/3)
EP1.1 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning (3/3)
EP1.2 ความสามารถในการสื่อสาร (1/2)
EP1.2 ความสามารถในการสื่อสาร (2/2)
EP1.3 ความสามารถในการคิด (1/9)
EP1.3 ความสามารถในการคิด (2/9)
EP1.3 ความสามารถในการคิด (3/9)
EP1.3 ความสามารถในการคิด (4/9)
EP1.3 ความสามารถในการคิด (5/9)
EP1.3 ความสามารถในการคิด (6/9)
EP1.3 ความสามารถในการคิด (7/9)
EP1.3 ความสามารถในการคิด (8/9)
EP1.3 ความสามารถในการคิด (9/9)
EP1.4 ความสามารถในการแก้ปัญหา (1/3)
EP1.4 ความสามารถในการแก้ปัญหา (2/3)
EP1.4 ความสามารถในการแก้ปัญหา (3/3)
EP1.5 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต (1/2)
EP1.5 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต (2/2)
EP1.6 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาตนเองและสังคม (1/2)
EP1.6 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาตนเองและสังคม (2/2)
การพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียนในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning : EP2.1 การพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียนในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning (1/5)
EP2.1 การพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียนในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning (2/5)
EP2.1 การพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียนในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning (3/5)
EP2.1 การพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียนในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning (4/5)
EP2.1 การพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียนในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning (5/5)
เอกสารประกอบการอบรม หน่วยการพัฒนาที่ 3 สมรรถนะของผู้เรียนในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning
แบบทดสอบ Post-Test
จำนวน 10 ข้อ
-
หน่วยที่ 4: สมรรถนะของผู้สอนในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสมรรถนะของผู้สอนในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning : EP1.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสมรรถนะของผู้สอนในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning (1/3)
EP1.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสมรรถนะของผู้สอนในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning (2/3)
EP1.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสมรรถนะของผู้สอนในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning (3/3)
สมรรถนะด้านการออกแบบการสอนแบบ Active Learning : EP2.1 สมรรถนะด้านการออกแบบการสอนแบบ Active Learning
EP2.2 การออกแบบการสอนแบบ Active Learning โดยใช้ไตรยางค์ในการออกแบบ OLE Model (1/2)
EP2.2 การออกแบบการสอนแบบ Active Learning โดยใช้ไตรยางค์ในการออกแบบ OLE Model (2/2)
EP2.3 การออกแบบ Outcome ในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning (1/3)
EP2.3 การออกแบบ Outcome ในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning (2/3)
EP2.3 การออกแบบ Outcome ในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning (3/3)
สมรรถนะด้านการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนและการใช้เทคโนโลยี : EP3.1 การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ (1/2)
EP3.1 การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ (2/2)
EP3.2 การออกแบบเทคโนโลยีสำหรับการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning (1/2)
EP3.2 การออกแบบเทคโนโลยีสำหรับการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning (2/2)
สมรรถนะด้านการออกแบบการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning : EP4.1 การวัดและประเมินผลในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning
EP4.2 Formative Assessment (1/2)
EP4.2 Formative Assessment (2/2)
EP4.3 Summative Assessment
EP5.1 การโค้ชเพื่อการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning (1/2)
สมรรถนะด้านการโค้ช : EP5.1 การโค้ชเพื่อการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning (2/2)
เอกสารประกอบการอบรม หน่วยการพัฒนาที่ 4 สมรรถนะของผู้สอนในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning
แบบทดสอบ Post-Test
จำนวน 10 ข้อ
-
หน่วยที่ 5: เครื่องมือที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning
เครื่องมือที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning : EP1.1 เครื่องมือที่ใช้ในการจัด การเรียนการสอนแบบ Active Learning
EP1.2 ความสำคัญของเครื่องมือ
EP1.3 ประเภทของเครื่องมือ
เครื่องมือสร้างเนื้อหาหรือชิ้นงาน : EP2.1 โปรแกรมที่ใช้ในการสร้างสื่อต่าง ๆ แบบออนไลน์และออฟไลน์
EP2.2 การใช้งาน Canva (1/2)
EP2.2 การใช้งาน Canva (2/2)
เครื่องมือเผยแพร่เนื้อหาหรือชิ้นงาน : EP3.1 รูปแบบและการใช้งานเครื่องมือเผยแพร่เนื้อหาหรือชิ้นงานต่าง ๆ (1/2)
EP3.1 รูปแบบและการใช้งานเครื่องมือเผยแพร่เนื้อหาหรือชิ้นงานต่าง ๆ (2/2)
EP3.2 การใช้งาน Edpuzzle (1/2)
EP3.2 การใช้งาน Edpuzzle (2/2)
EP3.3 การใช้งาน google Classroom (1/2)
EP3.3 การใช้งาน google Classroom (2/2)
EP3.4 การใช้งาน Microsoft Team
เครื่องมือระดมสมอง : EP4.1 รูปแบบและการใช้งานเครื่องมือระดมสมองต่าง ๆ
เครื่องมือวัดผลการจัดการเรียนการสอน : EP5.1 รูปแบบและการใช้งานเครื่องมือวัดผลการจัดการเรียนการสอนต่าง ๆ
EP5.2 การใช้งาน Quizziz (1/2)
EP5.2 การใช้งาน Quizziz (2/2)
EP5.3 การใช้งาน Socrative
EP5.4 การใช้งาน Kahoot (1/2)
EP5.4 การใช้งาน Kahoot (2/2)
EP5.5 สรุปการหน่วยการเรียนรู้ที่ 5เครื่องมือที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning
เอกสารประกอบการอบรม หน่วยการพัฒนาที่ 5 เครื่องมือที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning
แบบทดสอบ Post-Test
จำนวน 25 ข้อ
-
หน่วยที่ 6: การประยุกต์ใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอน Active Learning ในชั้นเรียน
วิธีการนำรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ไปใช้ในชั้นเรียน : EP1.1 วิธีการนำรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ไปใช้ในชั้นเรียน
EP1.2 การนำเข้าสู่บทเรียน
EP1.4 การประเมินผลการเรียนรู้
กรณีศึกษาการนำรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ไปใช้ในชั้นเรียน : EP2.1 ตัวอย่างการใช้ Challenge based learning (1/3)
EP2.1 ตัวอย่างการใช้ Challenge based learning (2/3)
EP2.1 ตัวอย่างการใช้ Challenge based learning (3/3)
EP2.2 ตัวอย่างการใช้ Jigsaw (1/2)
EP2.2 ตัวอย่างการใช้ Jigsaw (2/2)
EP2.3 ตัวอย่างการใช้ Problem Based Learning (1/4)
EP2.3 ตัวอย่างการใช้ Problem Based Learning (2/4)
EP2.3 ตัวอย่างการใช้ Problem Based Learning (3/4)
EP2.3 ตัวอย่างการใช้ Problem Based Learning (4/4)
EP2.4 ตัวอย่างการใช้ Project Based Learning (1/3)
EP2.4 ตัวอย่างการใช้ Project Based Learning (2/3)
EP2.4 ตัวอย่างการใช้ Project Based Learning (3/3)
EP2.5 ตัวอย่างการใช้ Creative Problem Solving (1/2)
EP2.5 ตัวอย่างการใช้ Creative Problem Solving (2/2)
EP2.6 ตัวอย่างการใช้ Design Thinking
เอกสารประกอบการอบรม หน่วยการพัฒนาที่ 6 การประยุกต์ใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอน Active Learning ในชั้นเรียน
แบบทดสอบ Post-Test
จำนวน 10 ข้อ
ครูและบุคลากรอาชีวศึกษาที่สนใจ